วันจันทร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
วันอังคารที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
จัดการกับไข้หวัด
ลองด้วยตัวเอง เมื่อคุณเริ่มจะเป็นหวัด สองสิ่งที่คุณแทบจะไม่ได้นึกถึง คือการหัวเราะดังๆ กับการทำตัวหวานชื่นกับคู่รัก คุณเชื่อไหมว่าสองวิธีดังกล่าวจะช่วยกระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย ทำให้คุณหายเร็วขึ้น
การหัวเราะ ช่วยลดฮอร์โมนเครียดในกระแสเลือด ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ทำให้ประสิทธิภาพในการค้นหาและทำลายเชื้อโรคของเซลล์ระบบภูมิคุ้มกันกับโรคลดลง การกอด มีผลดีกับระบบภูมิคุ้มกันโรคเพราะจะช่วยเพิ่มระดับฮอร์โมนออกซิโตซิน ฮอร์โมนนี้จะเกิดขึ้นเมื่อร่างกายมีความรักและยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความผูกพันระหว่างมารดากับทารก ทารกในสัปดาห์แรกหากได้รับการกอดหรือสัมผัสร่างกายไม่เพียงพอ ร่างกายจะสร้างออกซิโตซิสได้น้อยกว่าปกติ ซึ่งอาจมีผลทำให้ทารกเติบโตช้าลง ร่างกายอ่อนแอเจ็บป่วยและติดเชื้อได้ง่ายขึ้นด้วย
การหัวเราะ ช่วยลดฮอร์โมนเครียดในกระแสเลือด ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ทำให้ประสิทธิภาพในการค้นหาและทำลายเชื้อโรคของเซลล์ระบบภูมิคุ้มกันกับโรคลดลง การกอด มีผลดีกับระบบภูมิคุ้มกันโรคเพราะจะช่วยเพิ่มระดับฮอร์โมนออกซิโตซิน ฮอร์โมนนี้จะเกิดขึ้นเมื่อร่างกายมีความรักและยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความผูกพันระหว่างมารดากับทารก ทารกในสัปดาห์แรกหากได้รับการกอดหรือสัมผัสร่างกายไม่เพียงพอ ร่างกายจะสร้างออกซิโตซิสได้น้อยกว่าปกติ ซึ่งอาจมีผลทำให้ทารกเติบโตช้าลง ร่างกายอ่อนแอเจ็บป่วยและติดเชื้อได้ง่ายขึ้นด้วย
วันพุธที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
นาฬิกาชีวภาพ (Biological Clock)
นาฬิกาชีวภาพ (Biological clock) ทำหน้าที่กำหนดจังหวะการทำงาน
ของร่างกายครบรอบหนึ่งวัน 24 ชม.นักวิทยาศาสตร์เรียกจังหวะที่มี
รอบการทำงาน 24 ชม. ว่าจังหวะเชอร์คาเดียน (Circadian rhythm)
มาจากรากศัพท์ภาษาลาติน Cirda dies แปลว่า ประมาณหนึ่งวัน
จังหวะนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งในการควบคุมการทำงานของร่างกาย
ไม่เพียงการหลับตื่น แต่รวมไปถึงการหลั่งฮอร์โมน การเผาผลาญพลังงาน
การควบคุมอุณหภูมิในร่างกาย เป็นต้น
นาฬิกาชีวภาพของสิ่งมีชีวิตทำงาน โดยอาศัยการควบคุมระดับโปรตีนชนิดต่างๆ ให้มีจังหวะขึ้นลงตามช่วงของวัน เช่น การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย
การใช้ยาต่างๆ การพักผ่อน การทำงาน ดังนั้นนาฬิกาชีวภาพจึงมีบทบาทสำคัญ
ในการกำหนดจังหวะของพฤติกรรมต่างๆ ของร่างกายที่ใช้สมองและแรงกาย
ในทางการแพทย์ตะวันออก นาฬิกาชีวภาพทั้งกลางวันและกลางคืน
มีความสำคัญกับสุขภาพมนุษย์ ชั่วเวลา 24 ชั่วโมงนี้ พลังชีวิตจะไหลเวียน
ผ่านอวัยวะภายในแต่ละส่วนใช้เวลา 2 ชั่วโมง
การดำเนินชีวิตและพฤติกรรมประจำวันควรสอดคล้องกับนาฬิกาชีวภาพจึงจะเกิดความสมดุล มีสุขภาพดี อายุยืน และปราศจากโรค
โดยแบ่งช่วงเวลาดังนี้ …..
05.00 - 07.00 น. เป็นช่วงเวลาของลำไส้ใหญ่ ควรขับถ่ายอุจจาระเป็นนิสัยทุกเช้า
ถ้าไม่ถ่ายให้ดื่มน้ำอุ่น 2 แก้ว ถ้ายังไม่ได้ผลให้เพิ่มการบริหารโดยยืนตรง
หายใจเข้าลึกๆ แล้วก้มลงพร้อมหายใจออก เอามือท้าวเข่าแขม่วท้อง
จนเหมือนหน้าท้องติดสันหลังหรืออีกวิธีหนึ่งขณะนั่งโถส้วม
ใช้ฝ่ามือนวดหน้าท้อง วนตามเข็มนาฬิกาหลายๆรอบพร้อมแขม่วท้อง
07.00 - 09.00 น. เป็นช่วงเวลาของกระเพาะอาหาร ถ้ารับประทานอาหารช่วงนี้
เป็นประจำกระเพาะอาหารจะแข็งแรง แต่ถ้าอาหารเช้าดื่มกาแฟเพียงแก้วเดียว
ร่างกายจะดูดกากอาหารตกค้างที่กำลังจะกลายเป็นอุจจาระกลับขึ้นมาใหม่เท่ากับ "ดื่มกาแฟผสมอุจจาระ" ดังนั้นถ้าเร่งรีบอย่างน้อยขอให้มีโยเกิร์ตหรือนมสด หรือน้ำเต้าหู้+น้ำมะนาว ก็จะได้สารอาหารพอเพียงในมื้อเช้า
09.00 - 11.00 น. เป็นช่วงเวลาของม้าม ม้ามอยู่ที่ชายโครงด้านซ้ายมีหน้าที่
ควบคุมเม็ดเลือด และไขมัน ผู้ที่งีบหลับในช่วงนี้ม้ามมักจะอ่อนแอชื้น อาหารและน้ำจะแปรสภาพเป็นไขมัน ทำให้อ้วนง่าย ผู้ซึ่งเป็นเบาหวาน
มักจะง่วงเพราะเป็นเวลาหลังมื้ออาหารเช้า
11.00 - 13.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของหัวใจ จึงควรหลีกเลี่ยง
การเพิ่มความเครียด ระงับความตื่นเต้นตกใจให้ได้
13.00 - 15.00 น. เป็นช่วงเวลาของลำไส้เล็ก ลำไส้เล็กทำหน้าที่ดูดซึมสารอาหาร
เช่น วิตามินบี ซี โปรตีน เพื่อสร้างกรดอมิโนสร้างเสริมเซลล์ซ่อมแซมร่างกายที่สึกหรอ
15.00 - 17.00 น. เป็นช่วงเวลาของกระเพาะปัสสาวะ การขับถ่ายปัสสาวะ ขับเหงื่อ ช่วงเวลานี้ควรออกกำลังกาย ผู้มีเบาหวานควรออกกำลังในระหว่างเวลานี้
ก่อนฉีดยาอินสุลินมื้อเย็น
17.00 - 19.00 น. เป็นช่วงเวลาของไต ควรทำใจให้สดชื่นไม่ง่วงเหงาหาวนอน เชื่อว่าไตซ้ายคุมสมองด้านขวาเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ อารมณ์สุนทรี รักสวยรักงาม ส่วนไตขวาคุมสมองด้านซ้ายเกี่ยวกับความจำ
19.00 - 21.00 น. เป็นช่วงเวลาของเยื่อหุ้มหัวใจ ควรสวดมนต์ทำสมาธิ ปัญหาที่เกี่ยวกับเยื่อหุ้มหัวใจคือ หัวใจโต หัวใจรั่ว เส้นเลือดหัวใจตีบ
21.00 - 23.00 น. เป็นช่วงเวลาที่ต้องทำให้ร่างกายอบอุ่น ไม่ควรอาบน้ำเย็นจัดอาจเจ็บป่วยง่าย
ถ้าเรานำความรู้เรื่องนาฬิกาชีวภาพมาใช้ได้ถูกต้องแล้ว การมีสุขภาพดีปราศจากโรคภัย จึงเป็นของขวัญอันประเสริฐแก่ชีวิต
ของร่างกายครบรอบหนึ่งวัน 24 ชม.นักวิทยาศาสตร์เรียกจังหวะที่มี
รอบการทำงาน 24 ชม. ว่าจังหวะเชอร์คาเดียน (Circadian rhythm)
มาจากรากศัพท์ภาษาลาติน Cirda dies แปลว่า ประมาณหนึ่งวัน
จังหวะนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งในการควบคุมการทำงานของร่างกาย
ไม่เพียงการหลับตื่น แต่รวมไปถึงการหลั่งฮอร์โมน การเผาผลาญพลังงาน
การควบคุมอุณหภูมิในร่างกาย เป็นต้น
นาฬิกาชีวภาพของสิ่งมีชีวิตทำงาน โดยอาศัยการควบคุมระดับโปรตีนชนิดต่างๆ ให้มีจังหวะขึ้นลงตามช่วงของวัน เช่น การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย
การใช้ยาต่างๆ การพักผ่อน การทำงาน ดังนั้นนาฬิกาชีวภาพจึงมีบทบาทสำคัญ
ในการกำหนดจังหวะของพฤติกรรมต่างๆ ของร่างกายที่ใช้สมองและแรงกาย
ในทางการแพทย์ตะวันออก นาฬิกาชีวภาพทั้งกลางวันและกลางคืน
มีความสำคัญกับสุขภาพมนุษย์ ชั่วเวลา 24 ชั่วโมงนี้ พลังชีวิตจะไหลเวียน
ผ่านอวัยวะภายในแต่ละส่วนใช้เวลา 2 ชั่วโมง
การดำเนินชีวิตและพฤติกรรมประจำวันควรสอดคล้องกับนาฬิกาชีวภาพจึงจะเกิดความสมดุล มีสุขภาพดี อายุยืน และปราศจากโรค
โดยแบ่งช่วงเวลาดังนี้ …..
01.00 - 03.00 น. เป็นช่วงเวลาของตับ ควรนอนหลับพักผ่อน
ผู้ที่หลับได้ดีเป็นประจำในช่วงนี้ตับจะหลั่งสารมีราโทนินเพื่อฆ่าเชื้อโรค
ใบหน้าจะอ่อนกว่าวัยในช่วงเวลานี้ ไม่ควรรับประทานอาหาร เพราะตับจะทำงานหนักและเสื่อมเร็ว หน้าที่หลักของตับคือ ขจัดสารพิษในร่างกาย
03.00 - 05.00 น. เป็นช่วงเวลาของปอด ควรตื่นนอนเพื่อสูดอากาศบริสุทธิ์ รับแสงแดดยามเช้า ผู้ตื่นนอนช่วงนี้เป็นประจำผิวพรรณจะดีขึ้นผู้ที่หลับได้ดีเป็นประจำในช่วงนี้ตับจะหลั่งสารมีราโทนินเพื่อฆ่าเชื้อโรค
ใบหน้าจะอ่อนกว่าวัยในช่วงเวลานี้ ไม่ควรรับประทานอาหาร เพราะตับจะทำงานหนักและเสื่อมเร็ว หน้าที่หลักของตับคือ ขจัดสารพิษในร่างกาย
05.00 - 07.00 น. เป็นช่วงเวลาของลำไส้ใหญ่ ควรขับถ่ายอุจจาระเป็นนิสัยทุกเช้า
ถ้าไม่ถ่ายให้ดื่มน้ำอุ่น 2 แก้ว ถ้ายังไม่ได้ผลให้เพิ่มการบริหารโดยยืนตรง
หายใจเข้าลึกๆ แล้วก้มลงพร้อมหายใจออก เอามือท้าวเข่าแขม่วท้อง
จนเหมือนหน้าท้องติดสันหลังหรืออีกวิธีหนึ่งขณะนั่งโถส้วม
ใช้ฝ่ามือนวดหน้าท้อง วนตามเข็มนาฬิกาหลายๆรอบพร้อมแขม่วท้อง
07.00 - 09.00 น. เป็นช่วงเวลาของกระเพาะอาหาร ถ้ารับประทานอาหารช่วงนี้
เป็นประจำกระเพาะอาหารจะแข็งแรง แต่ถ้าอาหารเช้าดื่มกาแฟเพียงแก้วเดียว
ร่างกายจะดูดกากอาหารตกค้างที่กำลังจะกลายเป็นอุจจาระกลับขึ้นมาใหม่เท่ากับ "ดื่มกาแฟผสมอุจจาระ" ดังนั้นถ้าเร่งรีบอย่างน้อยขอให้มีโยเกิร์ตหรือนมสด หรือน้ำเต้าหู้+น้ำมะนาว ก็จะได้สารอาหารพอเพียงในมื้อเช้า
09.00 - 11.00 น. เป็นช่วงเวลาของม้าม ม้ามอยู่ที่ชายโครงด้านซ้ายมีหน้าที่
ควบคุมเม็ดเลือด และไขมัน ผู้ที่งีบหลับในช่วงนี้ม้ามมักจะอ่อนแอชื้น อาหารและน้ำจะแปรสภาพเป็นไขมัน ทำให้อ้วนง่าย ผู้ซึ่งเป็นเบาหวาน
มักจะง่วงเพราะเป็นเวลาหลังมื้ออาหารเช้า
11.00 - 13.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของหัวใจ จึงควรหลีกเลี่ยง
การเพิ่มความเครียด ระงับความตื่นเต้นตกใจให้ได้
13.00 - 15.00 น. เป็นช่วงเวลาของลำไส้เล็ก ลำไส้เล็กทำหน้าที่ดูดซึมสารอาหาร
เช่น วิตามินบี ซี โปรตีน เพื่อสร้างกรดอมิโนสร้างเสริมเซลล์ซ่อมแซมร่างกายที่สึกหรอ
15.00 - 17.00 น. เป็นช่วงเวลาของกระเพาะปัสสาวะ การขับถ่ายปัสสาวะ ขับเหงื่อ ช่วงเวลานี้ควรออกกำลังกาย ผู้มีเบาหวานควรออกกำลังในระหว่างเวลานี้
ก่อนฉีดยาอินสุลินมื้อเย็น
17.00 - 19.00 น. เป็นช่วงเวลาของไต ควรทำใจให้สดชื่นไม่ง่วงเหงาหาวนอน เชื่อว่าไตซ้ายคุมสมองด้านขวาเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ อารมณ์สุนทรี รักสวยรักงาม ส่วนไตขวาคุมสมองด้านซ้ายเกี่ยวกับความจำ
19.00 - 21.00 น. เป็นช่วงเวลาของเยื่อหุ้มหัวใจ ควรสวดมนต์ทำสมาธิ ปัญหาที่เกี่ยวกับเยื่อหุ้มหัวใจคือ หัวใจโต หัวใจรั่ว เส้นเลือดหัวใจตีบ
21.00 - 23.00 น. เป็นช่วงเวลาที่ต้องทำให้ร่างกายอบอุ่น ไม่ควรอาบน้ำเย็นจัดอาจเจ็บป่วยง่าย
23.00 - 01.00 น. เป็นช่วงเวลาของถุงน้ำดี น้ำดีเป็นน้ำย่อยจากตับ ถ้าร่างกายขาดน้ำ และดึงน้ำจากถุงน้ำดีไป ทำให้น้ำดีเข้มข้น
เป็นผลให้อารมณ์ฉุนเฉียว สายตาเสื่อม เป็นภูมิแพ้อากาศ
เป็นผลให้อารมณ์ฉุนเฉียว สายตาเสื่อม เป็นภูมิแพ้อากาศ
ถ้าเรานำความรู้เรื่องนาฬิกาชีวภาพมาใช้ได้ถูกต้องแล้ว การมีสุขภาพดีปราศจากโรคภัย จึงเป็นของขวัญอันประเสริฐแก่ชีวิต
อ้างอิง นาฬิกาชีวภาพในร่างกายมนุษย์ Health Today October,2005 p.74-75 . มาณีย์ อุ้ยเจริญพงษ์ อาหารเพื่อสุขภาพ การพยาบาล รพ. จุฬา 2547
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต (Biological clock) เอกสารพิมพ์เผยแพร่ มปพ.
วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
ยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่ เวบบล็อก ของคนรักสุขภาพ
ฝ่ายการพยาบาล โรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์
ฝ่ายการพยาบาล โรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)